วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2554

การคำนวณประโยชน์ที่ได้จากเครื่องผลิตปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ คาวเทค CT -50 0 ต่อ 1 เดือน

http://www.micro-biotec.com/info-cowtech2-Th.php

การคำนวณประโยชน์ที่ได้จากเครื่องผลิตปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ คาวเทค CT -50 0 ต่อ 1 เดือน
         1.  คาวเทครุ่น CT-500 รับขยะได้วันละ 500 กก.            = 1 เครื่อง
              ใช้ปริมาณขยะอินทรีย์ (ความชื้น 75%)                   = 500 กก./วัน
              เครื่องสามารถผลิตแก๊สได้วันละ                             = 30 – 70 ลบ.ม.
              เฉลี่ยวันละ                                                     = 50 ลบ.ม.
              เดือนละ                                                        = 1,500 ลบ.ม.
             1.1 เทียบเท่าแก๊ส LPG (1,500 x 0.46)                = 690 กก. ราคา กก. ละ 18 บาท = 12,420 บาท
             1.2 เทียบเท่าน้ำมันเบนซิน (1,500 x 0.7)              = 1,050 ลิตร
             ราคา ลิตรละ 38 บาท                                        = 39,900 บาท
             1.3 เทียบเท่าผลิตไฟฟ้าได้ (1,500 x 1.25)             = 1,875 kw.
             ราคา หน่วยละ 4 บาท                                        = 7,500 บาท
         2. ผลิตปุ๋ยหมักได้วันละ                                           = 500 กก./วัน (ที่ความชื้น 85%)
             คิดเป็นน้ำหนักแห้ง (500 x 15%) จะได้                  = 75 กก./วัน
             เดือนละ (75 x 30)                                           = 2,250 กก./เดือน
             จำหน่ายปุ๋ยหมักที่ความชื้น 35% (2,250 x 100/65)  = 3,462 กก./เดือน
             ราคา กก. ละ 4 บาท = 13,846 บาท/เดือน
         3. ได้ค่ากำจัดขยะโดยทั่ว ๆ ไป (500บาท/ตัน) x 500 กก. = 250 บาท/วัน
             เดือนละ (250 x 30) = 7,500 บาท/เดือน
            
             การเปลี่ยนขยะอินทรีย์ ให้เป็นของมีประโยชน์นั้น นอกจากจะได้ผลิตผลที่มีค่าแล้ว ยังเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและช่วยลด
ปัญหาภาวะโลกร้อนได้อีกส่วนหนึ่งด้วย จึงเห็นว่าถ้าทุกคน ทุกฝ่ายร่วมมือร่วมใจกัน เราก็จะสามารถช่วยกู้สภาวะโลกร้อนของเรากลับคืนมา
ได้อย่างแน่นอน
หมายเหต            : เครื่องผลิตปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ คาวเทค เป็นสิ่งประดิษฐ์ของคนไทย โดยได้รับการจด สิทธิบัตร                            จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อปี พ.ศ. 2545 และได้รับรางวัล นวัตกรรมดีเด่นประจำปี พ.ศ.2550
                           จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังผ่านการวิจัย และ ทดลอง โดยมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์                            ถึงประสิทธิภาพแล้วว่าสามารถผลิตก๊าซชีวภาพต่อ ปริมาตรถังหมักได้สูงที่สุดกว่าทุกระบบ ที่เคยมีการประดิษฐ์มาก่อน
                           ในประเทศไทย
Concept biogas form Micro biotec ( การจัดการของเสีย )
              ถังหมัก
              ปริมาณขยะอินทรีย์ (Food waste) ประมาณ              500 กิโลกรัม/วัน หรือ 500 ลิตร/วัน
              มีความชื้นประมาณ                                             75%
              ปริมาณขยะแห้ง                                                = 125 กิโลกรัม/วัน
              ปริมาตรของเสียหลังผสม                                     = 500 ลิตร
              ปริมาตรถังหมักที่ต้องการ                                     = 17,000 ลิตร
              เลือกใช้ถังหมักไร้อากาศแบบกวนสมบูรณ์ขนาด           กว้าง 2 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร
             
              ลานตากตะกอน (ถ้าจำเป็นต้องใช้)
              ปริมาณตะกอนย่อยที่คาดว่าจะได้                            20-30%
              ปริมาณตะกอนย่อยไม่ได้                                     = 50-70 กิโลกรัม/วัน
              ปริมาณกากที่ต้องดึง วันละ                                  = 500 ลิตร
              ต้องการพื้นที่ลานตาก                                        = 50 ตารางเมตร
              หรือเลือกใช้ถาดตากตะกอนขนาด                          2x3 เมตร x (5ชุด)
             Biogas quantity estimation
              Food waste                                                 500 kg/day
              COD of food waste (from Lab.)                      267,922 mg/L
              Total solid                                                   24.8%
              % CH4 in Biogas                                           67%
              System efficiency                                         70%
              Biogas quantity                                            50,000 L/day
หมายเหตุ
             1. เป็นระบบการหมักแบบไร้อากาศ (Anaerobic digester system) หมักแบบต่อเนื่อง
             2. ระยะเวลาการหมัก (HRT : Hydraulic Retention Time) 25-30 วัน ที่อุณหภูมิ 30-35 องศาเซลเซียส
             3. มีค่าของ C:N ของวัสดุที่เข้าระบบ ไม่เกิน (35:1)
             4. มีค่ากากของแข็ง (Total solid) ไม่เกิน 25
 

         1.  คาวเทครุ่น CT-500 รับขยะได้วันละ 500 กก.            = 1 เครื่อง
              ใช้ปริมาณขยะอินทรีย์ (ความชื้น 75%)                   = 500 กก./วัน
              เครื่องสามารถผลิตแก๊สได้วันละ                             = 30 – 70 ลบ.ม.
              เฉลี่ยวันละ                                                     = 50 ลบ.ม.
              เดือนละ                                                        = 1,500 ลบ.ม.
             1.1 เทียบเท่าแก๊ส LPG (1,500 x 0.46)                = 690 กก. ราคา กก. ละ 18 บาท = 12,420 บาท
             1.2 เทียบเท่าน้ำมันเบนซิน (1,500 x 0.7)              = 1,050 ลิตร
             ราคา ลิตรละ 38 บาท                                        = 39,900 บาท
             1.3 เทียบเท่าผลิตไฟฟ้าได้ (1,500 x 1.25)             = 1,875 kw.
             ราคา หน่วยละ 4 บาท                                        = 7,500 บาท
         2. ผลิตปุ๋ยหมักได้วันละ                                           = 500 กก./วัน (ที่ความชื้น 85%)
             คิดเป็นน้ำหนักแห้ง (500 x 15%) จะได้                  = 75 กก./วัน
             เดือนละ (75 x 30)                                           = 2,250 กก./เดือน
             จำหน่ายปุ๋ยหมักที่ความชื้น 35% (2,250 x 100/65)  = 3,462 กก./เดือน
             ราคา กก. ละ 4 บาท = 13,846 บาท/เดือน
         3. ได้ค่ากำจัดขยะโดยทั่ว ๆ ไป (500บาท/ตัน) x 500 กก. = 250 บาท/วัน
             เดือนละ (250 x 30) = 7,500 บาท/เดือน
            
             การเปลี่ยนขยะอินทรีย์ ให้เป็นของมีประโยชน์นั้น นอกจากจะได้ผลิตผลที่มีค่าแล้ว ยังเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและช่วยลด
ปัญหาภาวะโลกร้อนได้อีกส่วนหนึ่งด้วย จึงเห็นว่าถ้าทุกคน ทุกฝ่ายร่วมมือร่วมใจกัน เราก็จะสามารถช่วยกู้สภาวะโลกร้อนของเรากลับคืนมา
ได้อย่างแน่นอน
หมายเหต            : เครื่องผลิตปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ คาวเทค เป็นสิ่งประดิษฐ์ของคนไทย โดยได้รับการจด สิทธิบัตร                            จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เมื่อปี พ.ศ. 2545 และได้รับรางวัล นวัตกรรมดีเด่นประจำปี พ.ศ.2550
                           จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนี้ยังผ่านการวิจัย และ ทดลอง โดยมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์                            ถึงประสิทธิภาพแล้วว่าสามารถผลิตก๊าซชีวภาพต่อ ปริมาตรถังหมักได้สูงที่สุดกว่าทุกระบบ ที่เคยมีการประดิษฐ์มาก่อน
                           ในประเทศไทย
Concept biogas form Micro biotec ( การจัดการของเสีย )
              ถังหมัก
              ปริมาณขยะอินทรีย์ (Food waste) ประมาณ              500 กิโลกรัม/วัน หรือ 500 ลิตร/วัน
              มีความชื้นประมาณ                                             75%
              ปริมาณขยะแห้ง                                                = 125 กิโลกรัม/วัน
              ปริมาตรของเสียหลังผสม                                     = 500 ลิตร
              ปริมาตรถังหมักที่ต้องการ                                     = 17,000 ลิตร
              เลือกใช้ถังหมักไร้อากาศแบบกวนสมบูรณ์ขนาด           กว้าง 2 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร
             
              ลานตากตะกอน (ถ้าจำเป็นต้องใช้)
              ปริมาณตะกอนย่อยที่คาดว่าจะได้                            20-30%
              ปริมาณตะกอนย่อยไม่ได้                                     = 50-70 กิโลกรัม/วัน
              ปริมาณกากที่ต้องดึง วันละ                                  = 500 ลิตร
              ต้องการพื้นที่ลานตาก                                        = 50 ตารางเมตร
              หรือเลือกใช้ถาดตากตะกอนขนาด                          2x3 เมตร x (5ชุด)
             Biogas quantity estimation
              Food waste                                                 500 kg/day
              COD of food waste (from Lab.)                      267,922 mg/L
              Total solid                                                   24.8%
              % CH4 in Biogas                                           67%
              System efficiency                                         70%
              Biogas quantity                                            50,000 L/day
หมายเหตุ
             1. เป็นระบบการหมักแบบไร้อากาศ (Anaerobic digester system) หมักแบบต่อเนื่อง
             2. ระยะเวลาการหมัก (HRT : Hydraulic Retention Time) 25-30 วัน ที่อุณหภูมิ 30-35 องศาเซลเซียส
             3. มีค่าของ C:N ของวัสดุที่เข้าระบบ ไม่เกิน (35:1)
             4. มีค่ากากของแข็ง (Total solid) ไม่เกิน 25

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น